บทความ

ระบบเสียงในอาคาร,ห้างสัพสินค้า

รูปภาพ
ระบบเสียงตามสาย           ระบบเสียงตามสาย คือการส่งสัญญาณเสียงจากแหล่งกำเนิดเสียงต้นทาง อาจจะเป็นไมโครโฟน หรือ เครื่องเล่นเสียง CD/VCD/DVDMP3 หรือจากเครื่องรับวิทยุ หรือแหล่งอื่นๆ แล้วส่งไปที่เครื่องขยายเสียงเพื่อ ทำการขยายให้ได้กำลังสูงๆ เพื่อจะได้ส่งไปตามสายในระยะทางที่ไกลๆ โดย ที่ปลายทางจะมีลำโพงต่ออยู่ ระบบเสียงตามสาย อาจถูกเรียกได้หลายแบบเช่น ระบบเสียงตามสาย เสียงตามสาย ระบบประกาศ ระบบกระจายเสียงตามสาย ระบบกระจายเสียงสาธารณะ เป็นต้น ซึ่งล้วนแต่มีความหมายในทางเดียวกัน อาจจะมีวัตถุประสงค์และรูปแบบการใช้งานที่แตกต่างกันบ้าง แต่พื้นฐานหลักการจะมีองค์ประกอบเหมือนที่ กล่าวมาในตอนต้น การใช้งานระบบเสียงตามสายนิยมใช้ในระยะที่ไม่ไกลมาก โดยปกติจะใช้ภายในอาคาร ระหว่าง อาคาร หรือในพื้นที่หน่วยงาน โดยเฉลี่ยจะไม่เกิน 2 กิโลเมตรเนื่องจาก ยิ่งระยะทางไกลจะทำให้เกิดความ ต้านทานในสาย และทำให้สัญญาณเสียงลดคุณภาหรือดังค่อยลง อาคารเกือบทุกประเภทมีความจำเป็นต้องมีระบบเสียงตามสายเพื่อกระจายเสียงสำหรับประกาศเรียก หรือกระจายเสียงภายในอาคารเพื่อสื่อสารกับผู้ใช้อาคาร มีอุปกรณ์หลายชนิดรวมอยู่ในแผงกระจายเสียง

ระบบเสียงสาธารณะ

รูปภาพ
ระบบเสียงตามสาย ระบบกระจายเสียงตามสายสาธารณะ  (Public address System) ระบบการกระจายเสียงไปตามสาย คือการส่งสัญญาณเสียงจากแหล่งกำเนิดเสียงต้นทาง อาจจะเป็นไมโครโฟน หรือเครื่องเล่นเสียง CD/VCD/DVDMP3 หรือจากเครื่องรับวิทยุ หรือแหล่งอื่นๆ แล้วส่งไปที่เครื่องขยายเสียงเพื่อทำการขยายให้ได้กำลังสูงๆ เพื่อจะได้ส่งไปตามสายในระยะทางที่ไกลๆ โดย ที่ปลายทางจะมีลำโพงต่ออยู่ ระบบเสียงตามสาย อาจถูกเรียกได้หลายแบบเช่น ระบบเสียงตามสาย เสียงตามสาย ระบบประกาศ ระบบกรจายเสียงตามสาย ระบบกระจายเสียงสาธารณะ เป็นต้น ซึ่งล้วนแต่มีความหมายในทางเดียวกัน  อาจจะมีวัตถุประสงค์และรูบแบบการใช้งานที่แตกต่างกันบ้าง ไม่สำคัญ แต่พื้นฐานหลักการจะมีองค์ประกอบเหมือนที่เขียนมาในตอนต้น การใช้งานระบบเสียงตามสายนิยมใช้ในระยะที่ไม่ไกลมาก โดยปกติจะใช้ภายในอาคาร ระหว่างอาคาร หรือในพื้นที่หน่วยงาน โดยเฉลี่ยจะไม่เกิน 2 กิโลเมตรเนื่องจาก ยิ่งระยะทางไกลจะทำให้เกิดความต้านทานในสาย และทำให้สัญญาณเสียงลดคุณภาหรือดังค่อยลง ข้อดีของระบบเสียงตามสายแบบนี้คือ ง่าย สะดวกในการติดตั้งและดูแล คุณภาพเสียงระดับประกาศใช้ได้ แต่ไม่นิยมใช้

ระบบ MATV

รูปภาพ
MATV      MATV คืออะไร อาจจะเป็นคำถามที่คนอยู่อพาร์ทเม้นท์หรือคอนโดอยากรู้ เพราะว่าทุกห้องคงต้องการดูทีวีอยู่แล้ว MATV นั้นย่อมาจากคำว่า Master Antenna Television อันหมายถึงการกระจายสัญญาณทีวีไปยังห้องต่างๆภายในอาคารเดียวกันหรือในกลุ่มอาคารบริเวณใกล้เคียงกันโดยใช้สายอากาศเพียงชุดเดียว ระบบนี้จึงเป็นที่นิยมใช้ตาม หอพัก อพาร์ทเม้น รีสอร์ท คอนโดมิเนียม โรงแรมเป็นต้นเหตุที่ได้รับความนิยมในกลุ่มห้องพักแบบนี้ก็ต้องลองจินตนาการดูว่าคอนโดหนึ่งๆมีจำนวนห้องซัก 50 ห้อง จะให้แต่ละห้องติดตั้งสายอากาศหรือจานดาวเทียมของตนเองก็คงรกหูรกตาน่าดู เห็นได้จากอาคารชุดสมัยก่อนๆ ที่ไม่มีระบบเหล่านี้ เราจะเห็นเสาก้างปลาเต็มหลังคา หรือจานดาวเทียมเต็มหลังห้อง การใช้เสารวมจึงเป็นแนวทางที่ดีในการบริหารจัดการเรื่องการเดินสาย การติดตั้งของแต่ละห้องให้มีปัญหาน้อยลงการติดตั้งสายอากาศแบบก้างปลาบนหลังคาอันเดียวแล้วต่อสายธรรมดาๆ ลงมาทุกห้องจะเกิดปัญหาว่าห้องที่อยู่ไกลๆจะดูได้ไม่ชัด หรือแทบไม่มีสัญญาณเลย เกิดสัญญาณรบกวนจากการเปิดปิดไฟหรืออุปกรณ์ไฟฟ้าในห้องต่างๆเข้ามาในระบบสายส่ง การสูญเสียสัญญาณเมื่อต้องต่อส

LNB

รูปภาพ
LNB   Feed  Horn             ทำหน้าที่รวมสัญญาณที่ได้จากการสะท้อน จากจานรับสัญญาณดาวเทียม  เพื่อรวมสัญญาณป้อนให้กับตัว LNB  โดยส่งเข้าท่อ นำสัญญาณ หรือกระบอกนำสัญญาณที่เรียกว่าท่อ Waveguide         ทำหน้าที่ขยายสัญญาณ ด้วยวงจร LNA  ( Low Noise Amplifier ) ขยายสัญญาณในช่วงความถี่สูง RF AMP เป็นการขยายแบบ การรบกวนต่ำ  เพื่อให้ได้สัญญาณจริงที่ส่งมาจากดาวเทียมและส่งต่อเข้าไปที่วงจรเปลี่ยนความถี่ให้ต่ำลง  ปรับสัญญาณเป็นแบบ สัญญาณ IF ส่งออกต่อไปที่ขั้ว OUTPUT ของตัว LNB เพื่อส่งเข้าเครื่องรับดาวเทียมต่อไป อุปกรณ์ขยายสัญญาณที่มีสัญญาณรบกวนต่ำ           เมื่อสัญญาณที่รวมจากจานดาวเทียมแล้ว  จะถูกส่งต่อเข้าไปยังอุปกรณ์ขยายสัญญาณที่มีการรบกวนของสัญญาณต่ำ  LNB ( Low Noise Block downconverter )  จะมีขั้วโลหะชิ้นเล็กๆ ความยาวประมาณ 1 นิ้ว อยู่ 2 ขั้วซึ่งในส่วนนี้จริงๆแล้วคือขั้วสายอากาศที่ทำหน้าที่รับสัญญาณจากดาวเทียม  ในแนวตั้ง 1 อันและแนวนอนอีก 1 อัน  เมื่อรับสัญญาณได้แล้วจะส่งต่อไปยังวงจรอิเล็คทรอนิกส์ที่ทำหน้าที่ขยายสัญญาณที่มีกา

การติดตั้งจานดาวเทียมเเละการต่อใช่งานเเบบต่างๆ

รูปภาพ
การติดตั้งจานรับสัญญาณดาวเทียม ระบบ KU-Band บนดาวเทียมไทยคม5    1. ต้องรู้ก่อนว่าต าแหน่งที่เราจะท าการติดตั้งจาน อยู่ ณ ต าแหน่ง Latitude (Lat.)และ Longitude (Long.) ที่เท่าไรเพื่อจะหาค่ามุมกวาด (Azimuth: AZ ) และมุมเงย (Elevation: EL) ในการติดตั้งจานเพื่อรับ สัญญาณจากดาวเทียมไทยคม5 2. เมื่อทราบสามารถหาต าแหน่ง Latitude และ Longitude แล้วสามารถหาค่าค่ามุมกวาด (AZ ) และมุมเงย (EL)ได้จาก Website: http://tcns.thaicom.net/AZEL.asp โดยใส่ค่า Lat. และ Long. และ เลือกดาวเทียม ไทยคม 5 แล้วกด Calculate 3. หากไม่ทราบต าแหน่ง Latitude และ Longitude ของสถานที่ติดตั้งจาน สามารถใช้ค่า Latitude และ Longitude ของจังหวัดที่ติดตั้งแทน ในWebsite: http://tcns.thaicom.net/AZEL.aspและและและ เลือก ดาวเทียมไทยคม 5 แล้วกด Calculate จะได้ค่ามุมกวาด (AZ ) และมุมเงย(EL) การคำนวนเพื่อที่จะหามุม Azimuth (มุมกวาด) และมุม Elevation(มุมเงย)ไว้ใช้ในการ Point จาน สามารถใช้สูตรค านวน ดังนี้ สูตรการค านวนหามุม Azimuth (AZ) AZ = tan-1 θ = Latitude ของที่จะติดตั้งจาน Φ = Longitude (ดาวเทียม) – Longitude (