การติดตั้งจานดาวเทียมเเละการต่อใช่งานเเบบต่างๆ
การติดตั้งจานรับสัญญาณดาวเทียม ระบบ KU-Band บนดาวเทียมไทยคม5
1. ต้องรู้ก่อนว่าต าแหน่งที่เราจะท าการติดตั้งจาน อยู่ ณ ต าแหน่ง Latitude (Lat.)และ Longitude (Long.) ที่เท่าไรเพื่อจะหาค่ามุมกวาด (Azimuth: AZ ) และมุมเงย (Elevation: EL) ในการติดตั้งจานเพื่อรับ สัญญาณจากดาวเทียมไทยคม5
2. เมื่อทราบสามารถหาต าแหน่ง Latitude และ Longitude แล้วสามารถหาค่าค่ามุมกวาด (AZ ) และมุมเงย (EL)ได้จาก Website: http://tcns.thaicom.net/AZEL.asp โดยใส่ค่า Lat. และ Long. และ เลือกดาวเทียม ไทยคม 5 แล้วกด Calculate
3. หากไม่ทราบต าแหน่ง Latitude และ Longitude ของสถานที่ติดตั้งจาน สามารถใช้ค่า Latitude และ Longitude ของจังหวัดที่ติดตั้งแทน ในWebsite: http://tcns.thaicom.net/AZEL.aspและและและ เลือก ดาวเทียมไทยคม 5 แล้วกด Calculate จะได้ค่ามุมกวาด (AZ ) และมุมเงย(EL)
การคำนวนเพื่อที่จะหามุม Azimuth (มุมกวาด) และมุม Elevation(มุมเงย)ไว้ใช้ในการ Point จาน สามารถใช้สูตรค านวน ดังนี้ สูตรการค านวนหามุม Azimuth (AZ) AZ = tan-1 θ = Latitude ของที่จะติดตั้งจาน Φ = Longitude (ดาวเทียม) – Longitude (ที่ติดตั้งจาน) สูตรการค านวนหามุม Elevation (EL) EL = tan-1 θ = Latitude ของที่จะติดตั้งจาน Φ = Longitude (ดาวเทียม) – Longitude (ที่ติดตั้งจาน) R = รัศมีโลก (มีค่าเท่ากับ 6,370 Km.) H = ระยะระหว่างดาวเทียมกับพื้นโลก (35,680 Km.)
4. ส ารวจทิศทางมุม(ที่ได้จากการค านวนจากข้อที่ 2 หรือ 3 ที่จะหันหน้าจานไปรับสัญญาณจากดาวเทียม
6. ประกอบตัว LNB เข้ากับแขนจับ LNB และหันหน้าเข้าหาจานแล้วบิดขั้วใส่สายสัญญาณของLNB ไป
ที่ทิศทางประมาณ 4 -5 นาฬิกา
7. เข้าหัว F-Type กับสาย RG6
8. ท าการต่อสายสัญญาณและอุปกรณ์ต่างๆ เพื่อเริ่มการปรับแต่งมุมจานให้ได้รับสัญญาณที่ดีสุด ซึ่งจะ
อธิบายในหัวข้อ “วิธีการปรับจานดาวเทียมให้ได้สัญญาณที่แรงที่สุด
การติดตั้งจานดาวเทียม THAICOM 5 ระบบ C-Band
การสำรวจพื้นที่ติดตั้งจานดาวเทียม
การติดตั้งจานดาวเทียมเพื่อรับสัญญาณจากดาวเทียมไทยคม 5 หน้าจานจะหันไป ทางทิศตะวันตกเฉียงใต้ (ประมาณ 240 องศา) ดังนั้นก่อนการติดตั้งควรส ารวจพื้นที่ ที่ท าการติดตั้งก่อนว่ามีสิ่งกีดขวางทิศทางการรับสัญญาณหรือไม่
การติดตั้งจานดาวเทียม
1.ประกอบชุดคอจานเข้าด้วยกัน
2.นำชุดคอจานกับใบจานประกอบเข้าด้วยกัน
3.น าชุดจานที่ได้สวมเข้าเสาตั้งจาน (โดยเสาตั้งจานควรได้ฉาก 90 องศา)
4.ท าการประกอบชุดขาจับ LNB กับแผ่นสกาล่าริง เข้าด้วยกัน
1. ต้องรู้ก่อนว่าต าแหน่งที่เราจะท าการติดตั้งจาน อยู่ ณ ต าแหน่ง Latitude (Lat.)และ Longitude (Long.) ที่เท่าไรเพื่อจะหาค่ามุมกวาด (Azimuth: AZ ) และมุมเงย (Elevation: EL) ในการติดตั้งจานเพื่อรับ สัญญาณจากดาวเทียมไทยคม5
2. เมื่อทราบสามารถหาต าแหน่ง Latitude และ Longitude แล้วสามารถหาค่าค่ามุมกวาด (AZ ) และมุมเงย (EL)ได้จาก Website: http://tcns.thaicom.net/AZEL.asp โดยใส่ค่า Lat. และ Long. และ เลือกดาวเทียม ไทยคม 5 แล้วกด Calculate
3. หากไม่ทราบต าแหน่ง Latitude และ Longitude ของสถานที่ติดตั้งจาน สามารถใช้ค่า Latitude และ Longitude ของจังหวัดที่ติดตั้งแทน ในWebsite: http://tcns.thaicom.net/AZEL.aspและและและ เลือก ดาวเทียมไทยคม 5 แล้วกด Calculate จะได้ค่ามุมกวาด (AZ ) และมุมเงย(EL)
การคำนวนเพื่อที่จะหามุม Azimuth (มุมกวาด) และมุม Elevation(มุมเงย)ไว้ใช้ในการ Point จาน สามารถใช้สูตรค านวน ดังนี้ สูตรการค านวนหามุม Azimuth (AZ) AZ = tan-1 θ = Latitude ของที่จะติดตั้งจาน Φ = Longitude (ดาวเทียม) – Longitude (ที่ติดตั้งจาน) สูตรการค านวนหามุม Elevation (EL) EL = tan-1 θ = Latitude ของที่จะติดตั้งจาน Φ = Longitude (ดาวเทียม) – Longitude (ที่ติดตั้งจาน) R = รัศมีโลก (มีค่าเท่ากับ 6,370 Km.) H = ระยะระหว่างดาวเทียมกับพื้นโลก (35,680 Km.)
4. ส ารวจทิศทางมุม(ที่ได้จากการค านวนจากข้อที่ 2 หรือ 3 ที่จะหันหน้าจานไปรับสัญญาณจากดาวเทียม
5. เมื่อได้ต าแหน่งติดตั้งจานที่ไม่มีสิ่งบดบังแล้ว ก็เริ่มท าการติดตั้งเสาโดยต้องติดตั้งให้ท ามุม90 องศา
ทั้ง 4ด้าน หากไม่ได้90 องศา ให้ใช้แหวนรองน็อต รองใต้แป้นเหล็กเพื่อปรับองศาของผนังยึด
6. ติดตั้งจานเข้ากับเสาโดยหันหน้าจานไปทางทิศทางที่ได้ท าการค านวน (คือมุมกวาด (AZ ) และมุมเงย
(EL)) ไว้ในข้อที่ 2 หรือ 3 ซึ่งการติดตั้งในประเทศไทยนั้นหากรับสัญญาณจากดาวเทียมไทยคม5 เรา
สามารถปรับจานรับสัญญาณจากดาวเทียมให้มีมุมกวาด (AZ) ประมาณเท่ากับ 240 องศา และมี มุมเงย
(EL) ประมาณ 60 องศาโดยประมาณใแล้วค่อยมาท าการปรับแต่งละเอียดอีกครั้งภายหลังเพื่อรับ
สัญญาณได้แรงมากที่สุด
การติดตั้งจานดาวเทียม THAICOM 5 ระบบ C-Band
1.หน้าจานรับสัญญาณดาวเทียมท าหน้าที่สะท้อนสัญญาณไปยังจุดโฟกัส
การรับสัญญาณจากดาวเทียม
2.ที่จุดโฟกัสจะมีอุปกรณ์ที่เรียกว่า LNB ท าหน้าที่รับสัญญาณที่สะท้อนจากจาน
ดาวเทียมและเปลี่ยนความถี่ให้เป็ นย่านความถี่ต ่า (950 MHz – 2150 MHz) เพื่อ
สามารถให้ส่งผ่านสายสัญญาณไปยังเครื่องรับได้
3.เครื่องรับสัญญาณ (Receiver) ท าหน้าที่แปลงสัญญาณดาวเทียมที่ได้เป็ นภาพและเสียง
ไปยังจอภาพ (ทีวี)
การสำรวจพื้นที่ติดตั้งจานดาวเทียม
การติดตั้งจานดาวเทียมเพื่อรับสัญญาณจากดาวเทียมไทยคม 5 หน้าจานจะหันไป ทางทิศตะวันตกเฉียงใต้ (ประมาณ 240 องศา) ดังนั้นก่อนการติดตั้งควรส ารวจพื้นที่ ที่ท าการติดตั้งก่อนว่ามีสิ่งกีดขวางทิศทางการรับสัญญาณหรือไม่
การติดตั้งจานดาวเทียม
1.ประกอบชุดคอจานเข้าด้วยกัน
2.นำชุดคอจานกับใบจานประกอบเข้าด้วยกัน
3.น าชุดจานที่ได้สวมเข้าเสาตั้งจาน (โดยเสาตั้งจานควรได้ฉาก 90 องศา)
4.ท าการประกอบชุดขาจับ LNB กับแผ่นสกาล่าริง เข้าด้วยกัน
5.นำชุดขาจับ LNB ประกอบเข้ากับใบจาน
( ประกอบเป็
นร
ู
ปกากบาท ×)
6.นำ LNB มาสวมโดยให้เลข 0 ชี้ลงด้านซ้ายมือ
ประมาณ 7 นาฬิกา
7.ทำการปรับระดับความลึกของ LNB
ประมาณ 38
8.นำสายสัญญาณต่อเข้ากับ LNB
9.ทำการเก็บสายและหมวกครอบ LNB
การต่อใช้งานแบบต่าง ๆ
การต่อพ่วงจุดรับชมมากกว่า 2 จุด
การต่อใช้งานมากกว่า 2 จุด เพื่อให้สามารถรับชมได้อย่างอิสระต้องใช้ LNB
แบบ 2 ขั้วในการรับสัญญาณ จากนั้นน ามาต่อเข้า Multiswitch เพื่อแยกจุดรับชม
(ในกรณีที่ใช้ Multiswitch ที่มี output มากกว่า 4 จุด แนะน าให้ใช้ Multiswitch
แบบมีไฟเลี้ยง)
การต่อพ่วงจุดรับชมดาวเทียมหลายดวงแบบหลายจุดรับชม
การต่อพ่วงจุดรับชมดาวเทียมหลายดวงแบบหลายจุดรับชม ในการร่วมสัญญาณ
สามารถใช้อุปกรณ์ที่เรียกว่า Multiswicth cascade ในการใช้งานจะเหมือนการเอา
Switch 22 KHz + DiSEqC รวมเข้าด้วยกัน
การทำงานอุปกรณ์Multiswitch 4 x 4
Multiswitch เป็ นอุปกรณ์ที่ท าหน้าเลือกรับสัญญาณจากดาวเทียม 2 ดวงโดยการ
ท างานของอุปกรณ์ชนิดนี้จะใช้สัญญาณ 22 KHz จากเครื่องรับสัญญาณเป็ นตัว
สั่งงานว่าจะรับสัญญาณจาก Port ใช้งาน 22 KHz หรือ 0 Hz
ok
ตอบลบ